
Nattakorn Choonhavan Thai, b. 1989
In ‘The Reversed Worlds in between the Lotuses’ Shadows (2024)’ for example, the artist constructs the brass sculpture of endlessly expanding roots as a representation of a never-ending cycle in Samsara. By positioning the sculpture in a reflective manner that results in an infinite perception, the work suggests the merge of the beginning and the end of one’s life. Through micro-scoping the exquisite details, the delicate shapes of lotuses are intertwined with small baroque pearls and attached to the roots in order to describe the story of the Lotus-eater in Greek Mythology. By referencing the myth, the crafted lotus shapes indicate the pleasure and joy of continuous consumption without a will to realize human’s essential concerns. These endless roots of life filled with edible lotuses are perhaps a statement of our unpleasant truth in the greedy system within the escalating branches of consumerism.
ตัวอย่างเช่น “โลกที่กลับด้านระหว่างเงาของบัว (2024)” (‘The Reversed Worlds in between the Lotuses’ Shadows (2024)’) ศิลปินสร้างประติมากรรมรากทองเหลืองที่แผ่ขยายได้ไม่สิ้นสุด สื่อแทนวัฏฏะที่ไม่มีวันสุดสิ้นของสังสารวัฏ ด้วยการจัดวางประติมากรรมในท่วงท่าการสะท้อนทำให้เกิดการรับรู้ที่ไม่สิ้นสุด งานชิ้นนี้นำเสนอการผสานกันระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดของชีวิต ผ่านรายละเอียดอันประณีตขนาดเล็ก รูปทรงที่ละเอียดอ่อนของบัวผสานเข้ากับไข่มุกทรงบารอคเม็ดเล็ก และนำไปติดกับราก เพื่อบรรยายเรื่องราวของผู้กินบัวตามตำนานเทพเจ้ากรีกตามตำนาน หัตถกรรมรูปทรงบัว แสดงถึงความพอใจ ความสุขของการบริโภคอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ปรารถนาที่จะตระหนักถึงเรื่องราวที่สำคัญของมนุษย์ รากแห่งชีวิตอันไม่มีที่สิ้นที่เต็มไปด้วยบัวกินได้ บางทีอาจจะเป็นการแสดงถึงความจริงอันไม่น่าอภิรมย์ของระบบอันตะกละตะกลามของบริโภคนิยมที่ทวีความรุนแรงขึ้น